จังหวะในเพลงไทยเดิม แบ่งออกเป็น ๓ ชนิด คือ
๑ .จังหวะสามัญ หมายถึง จังหวะอย่างสม่ำเสมอที่จะต้องยึดถือเป็นหลักในการขับร้องและบรรเลง แม้ว่าจะ ไม่มีสิ่งใดเป็นเครื่องให้สัญญาณจังหวะ ก็จะต้องมีจังหวะอยู่ในความรู้สึกตลอดเวลา
๒.จังหวะฉิ่ง ใช้พื้นฐานเดียวกับจังหวะสามัญ เป็นการแบ่งจังหวะด้วยฉิ่ง โดยปกติจะตีสลับกัน เป็น ฉิ่ง - ฉับ แต่ใช้เสียงฉิ่งกำหนดเสียงแทนการเคาะหรือตบมือ เพื่อให้ทราบว่ากำลังบรรเลงในอัตราจังหวะ สามชั้น สองชั้น หรือชั้นเดียว
๓.จังหวะหน้าทับ หมายถึงการตีกลองควบคุมจังหวะ วิธีการกำกับจังหวะหน้าทับคือ เราใช้จำนวนห้องโน้ตหรือ จำนวนบรรทัดของโน้ตหน้าทับ เป็นเกณฑ์ในการกำกับและนับจังหวะทำนองเพลง
จังหวะฉิ่ง
ฉิ่ง เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีใช้สำหรับกำกับจังหวะ เบาและหนัก ของบทเพลง มี ๓ อัตราจังหวะ
๑.จังหวะสามชั้น ( จังหวะช้า)
๑ ๒ ๓ ๔ |
๑ ๒ ๓ ฉิ่ง |
๑ ๒ ๓ ๔ |
๑ ๒ ๓ ฉับ |
๑ ๒ ๓ ๔ |
๑ ๒ ๓ ฉิ่ง |
๑ ๒ ๓ ๔ |
๑ ๒ ๓ ฉับ |
๒.จังหวะสองชั้น (จังหวะปานกลาง)
๑ ๒ ๓ ฉิ่ง |
๑ ๒ ๓ ฉับ |
๑ ๒ ๓ ฉิ่ง |
๑ ๒ ๓ ฉับ |
๑ ๒ ๓ ฉิ่ง |
๑ ๒ ๓ ฉับ |
๑ ๒ ๓ ฉิ่ง |
๑ ๒ ๓ ฉับ |
๓.จังหวะชั้นเดียว (จังหวะเร็ว)
๑ฉิ่ง๓ฉับ |
๑ฉิ่ง๓ฉับ |
๑ฉิ่ง๓ฉับ |
๑ฉิ่ง๓ฉับ |
๑ฉิ่ง๓ฉับ |
๑ฉิ่ง๓ฉับ |
๑ฉิ่ง๓ฉับ |
๑ฉิ่ง๓ฉับ |
จังหวะหน้าทับ (กลองแขก – โทนรำมะนา) ที่นักเรียนใช้กำกับจังหวะบทเพลงต่างๆ ในหลักสูตรวิชาดนตรีไทย โรงเรียนอำนวยศิลป์
สองไม้ลาว สองชั้น
- ติง – โจ๊ะ |
- ติง - ติง |
- - ติงทั่ง |
- ติง - ทัง |
สองไม้ไทย (ทยอย สองชั้น)
- - โจ๊ะจ๊ะ |
ติงติง - ติง |
- - โจ๊ะจ๊ะ |
ติงติง - ทั่ง |
หน้าทับสำเนียงฝรั่ง
- ติงติงติง |
- ติง -ทั่ง |
- ติง -ทั่ง |
- ติง -ทั่ง |
ปรบไก่สองชั้น
-ทั่ง - ติง |
-โจ๊ะ-จ๊ะ |
-โจ๊ะ-จ๊ะ |
-โจ๊ะ-จ๊ะ |
-ติง–ทั่ง |
-ติง-ติง |
-ทั่ง-ติง |
-ติง-ทั่ง |
ตัวอย่างการกำกับจังหวะฉิ่งสองชั้นและกำกับจังหวะหน้าทับปรบไก่ ในเพลงแขก บรเทศ สองชั้น
ท่อนที่ ๑
จังหวะฉิ่ง |
- - - ฉิ่ง |
- - - ฉับ |
- - - ฉิ่ง |
- - - ฉับ |
- - - ฉิ่ง |
- - - ฉับ |
- - - ฉิ่ง |
- - - ฉับ |
กลอง |
-ทั่ง-ติง |
- โจ๊ะ-จ๊ะ |
- โจ๊ะ-จ๊ะ |
- โจ๊ะ-จ๊ะ |
-ติง–ทั่ง |
-ติง-ติง |
-ทั่ง-ติง |
-ติง-ทั่ง |
ทำนอง |
- - - ซ |
- ล ล ล |
- - - ด |
- ล ล ล |
- ซ ซ ซ |
- ล - ซ |
- - - ม |
- ม ม ม |
ทำนอง |
- ล ซ ม |
- ร - ด |
- - ม ร |
ด ร - ม |
- ซ - ล |
- ซ - ม |
- - - ร |
- - - ด |
ท่อนที่ ๒
จังหวะฉิ่ง |
- - - ฉิ่ง |
- - - ฉับ |
- - - ฉิ่ง |
- - - ฉับ |
- - - ฉิ่ง |
- - - ฉับ |
- - - ฉิ่ง |
- - - ฉับ |
กลอง |
-ทั่ง-ติง |
- โจ๊ะ-จ๊ะ |
- โจ๊ะ-จ๊ะ |
- โจ๊ะ-จ๊ะ |
-ติง–ทั่ง |
-ติง-ติง |
-ทั่ง-ติง |
-ติง-ทั่ง |
ทำนอง |
- ด ร ม |
ซ ม ร ด |
- - - ซ |
- - - ล |
- - ด ล |
ซม ซ ล |
- - - ด |
- - - ร |
ทำนอง |
- ล ซ ม |
- ร - ด |
- - ม ร |
ด ร - ม |
- ซ - ล |
- ซ - ม |
- - - ร |
- - - ด |
* ต่ำแน่งการบรรเลงของทุกเครื่องมือจะต้องเท่ากันทุกครั้ง เหมือนตารางโน้ตที่กำหนด จึงจะถือว่าการบรรเลงของวงดนตรีสมบูรณ์ในเรื่องการกำกับจังหวะ
ตัวอย่างการกำกับจังหวะฉิ่งสองชั้นและกำกับจังหวะหน้าทับสองไม้ลาว
ในเพลง ลาวดวงเดือน สองชั้นรอบที่ ๑
จังหวะฉิ่ง |
- - - ฉิ่ง |
- - - ฉับ |
- - - ฉิ่ง |
- - - ฉับ |
- - - ฉิ่ง |
- - - ฉับ |
- - - ฉิ่ง |
- - - ฉับ |
กลอง |
-ติง-โจ๊ะ |
-ติง-ติง |
- - ติงทั่ง |
-ติง-ทั่ง |
-ติง-โจ๊ะ |
-ติง-ติง |
- - ติงทั่ง |
-ติง-ทั่ง |
ทำนอง |
- - - - |
- - - - |
- ด ร ม |
- ซ– ด |
- - - ร |
- ด ด ด |
ซลดล |
ซ ม - ซ |
ทำนอง |
- - - ล |
ซ ซ ซ ซ |
- ม ซ ม |
ซ ลด ล |
- - ด ล |
- ซ – ม |
ร มซ ม |
ร ด -ร |
ทำนอง |
- - - ม |
ร ร ร ร |
ซลซดํ |
- ร – ม |
- ซ - - |
ซ ล ด ร |
- ม ซ ร |
ม ร ด ล |
ทำนอง |
- - - - |
ซ ล ด ม |
ร ด ร ม |
- ซ– ล |
- - ด ล |
ซมซ ล |
ซลดล |
- ซ ซ ซ |
ตัวอย่างการกำกับจังหวะฉิ่งสองชั้นและกำกับจังหวะหน้าทับปรบไก่สองชั้น
ในเพลง มอญรำดาบ สองชั้นท่อนที่ ๑ ทำนอง(ทาง) ระนาดเอก
จังหวะฉิ่ง |
- - - ฉิ่ง |
- - - ฉับ |
- - - ฉิ่ง |
- - - ฉับ |
- - - ฉิ่ง |
- - - ฉับ |
- - - ฉิ่ง |
- - - ฉับ |
กลอง |
-ทั่ง-ติง |
- โจ๊ะ-จ๊ะ |
- โจ๊ะ-จ๊ะ |
- โจ๊ะ-จ๊ะ |
-ติง–ทั่ง |
-ติง-ติง |
-ทั่ง-ติง |
-ติง-ทั่ง |
ทำนอง |
- - - ด |
ร ร ร ร |
- - - ม |
ร ร ร ร |
- ด - ร |
มรดล |
- - -ซ |
ดลซฟ |
ทำนอง |
รมฟซ |
ลซฟม |
รดรม |
รมฟซ |
รดมร |
ดลซฟ |
มรดร |
มฟซล |
ทำนอง |
ซรมร |
ซรมฟ |
มรดร |
มฟซล |
ดมรด |
มรดล |
รดลซ |
ดลซฟ |
ทำนอง |
- ซ –ซ |
- - - ร |
มรดร |
- ม – ฟ |
- ฟ ซ ล |
- ซ – ฟ |
- ล ซ ฟ |
- ม - ร |
|